วันอาทิตย์ที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

โมเด็ม



10:32



โมเด็ม (Modem)

โมเด็ม เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการแปลงสัญญาณดิจิทัลเป็นแอนะลอก และแปลงสัญญาณแอนะลอกกลับเป็นดิจิทัล มาจากคำว่า MOdelatory/DEModulator กระบวนการแปลงสัญญาณดิจิทัลเป็นแอนะลอก เรียกว่า มอดูเลชัน (Modlation) และกระบวนการแปลงสัญญาณแอนะลอกกลับเป็นดิจิทัล เรียกว่า ดีมอดูเลชัน (Demodulation)
โดยวิธีการจะเป็นการแปลงรูปทรงของคลื่นเพื่อให้สามารถรับรู้สารสนเทศแบบดิจิทัลได้เท่านั้น เช่น กรรมวิธีการเปลี่ยนแปลงความถี่ของคลื่น (frequency) รอบคลื่นปกติในคาบเวลาที่กำหนดให้อาจใช้แทนบิต 0 หรือกรรมวิธีเปลี่ยนแปลงช่วงกว้างของคลื่น (amplitude) อาจใช้แทนบิต 1 นั่นคือ ความสูงของคลื่นปกติอาจมีนัยนะแทน 1 ในขณะที่คลื่นที่ต่ำกว่าใช้แทน 0 เนื่องเพราะว่า คุณสมบัติของคลื่นย่อมไม่อาจแปลงรูปทางเป็นลักษณะเปิด/ปิด เพื่อแทนสัญญาณดิจิทัลได้อย่างตรงๆ
ดังนั้น จะพบว่าโมเด็มจึงมีลักษณะผสมผสานเพราะว่ามันไม่สามารถส่งผ่านสัญญาณดิจิทัลโดยคงคุณสมบัติทั้งหมดไว้ได้โดยสมบูรณ์ ดังนั้งจึงได้มีการพัฒนาทางเลือกใหม่ๆ เช่น ISDN, ADSL เป็นต้น ประเภทของโมเด็ม แบ่งออกเป็น 3 ประเภทดังนี้
เสียบเข้ากับแจ๊คโทรศัพท์ทั่วไป ข้อดีของโมเด็มภายนอก ด้านความทนทาน, ความเสถียรภาพม สามารถโยกย้ายไปใช้กับคอมพิเตอร์เครื่องอื่นๆได้สะดวก สามารถตรวจสอบสถานะการทำงานของโมเด็มได้โดยตรง ข้อจำกัด ราคาแพงกว่าโมเด็มภายใน สิ้นเปลืองพื้นที่ใช้สอยบนโต๊ะ มักต้องการปลั๊
โมเด็มภายนอก (External Modem) จะเป็นกล่องที่แยกออกมาต่างหากจากตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีขนาดไม่ใหญ่นัก มักจะใช้สายเชื่อมต่อโมเด็มเข้ากับพอร์ตสื่อสาร ด้านหลังคอมพิวเตอร์ เช่น COM1,COM2,USB เป็นต้น ส่วนอีกสายหนึ่งจากโมเด็มจ
ะกเสียบ AC โมเด็มภายใน (Internal Modem) มีลักษณะเป็นการ์ดวงจรเสียบเข้ากับสล๊อตบนแผงหลัก(Motherboard) ปัจจุบันเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่มักถูกติดตั้งโมเด็มมาด้วย หรืออาจรวมอยู่ในแผงวงจรหลัก ข้อดี ไม่สิ้นเปลืองพื้นที่บนโต๊ะ ราคาประหยัด ไม่จำเป็นต้องใช้สายไฟฟ้า power เพื่อเสียบเข้ากับปลั๊ก AC เพิ่มเติม ความเร็วในการส่งผ่านข้อมูลของโมเด็ม
ราความเร็วในการส่งผ่านข้อมูลของโมเด็ม อาจแบ่งเป็น 3 ระดับ ได้แก่ ช้า, เร็วปานกลาง และเร็วสูง 1. ช้า (Slow) มีอัตราความเร็วที่ประมาณ 1200, 2400 และ 4800 bps เอกสารแบบจดหมายจำนวน 10 หน้าสำหรับโมเด็มแบบ 24
โมเด็มที่มีความเร็วสูงย่อมส่งผ่านข้อมูลเสร็จได้เร็วกว่าและเสียค่าใช้จ่ายต่ำกว่าเมื่อใช้งานอินเทอร์เน็ตที่คิดค่าใช้จ่ายตามเวลาที่ใช้ไป ความเร็วในการส่งผ่านข้อมูลของโมเด็มจึงเป็นเรื่องสำคัญที่ควรคำนึงถึงเสมอ ความเร็วในการส่งผ่านข้อมูลของโมเด็มถูกใช้ด้วยอัตราความเร็วซึ่งมีหน่วยวัดเป็นบิตต่อวินาที เรียกว่า bps (bit per second) หรือ Kps เช่น 56Kps อั
ต00bps สามารถส่งผ่านข้อมูลโดยใช้เวลาประมาณ 2.30 นาที จัดว่าช้าไม่ว่าจะใช้งานอะไรก็ตาม 2. เร็วปานกลาง (moderately fast) มีอัตราความเร็วที่ประมาณ 9600 และ 14,400 bps เอกสารขนาดเดียวกันเมื่อส่งผ่านโมเด็มแบบ 9600 bps จะใช้เวลาประมาณ 38 วินาที โดยทั่วไป เครื่องแฟกซ์จะรับ-ส่งข้อมูลที่ความเร็วนี้ 3. เร็วสูง (high speed) มีอัตราความเร็วที่ 28,800 33,600 และ 56,000 bps เอกสารขนาดเดียวกันกับข้อ 1 เมื่อส่งผ่านด้วยโมเด็มแบบ 28.8 Kps จะใช้เวลาประมาณ 10 วินาที และใช้เวลา 5 วินาที สำหรับการใช้โมเด็ม 56 Kps
ชอบ เช่น องค์การโทรศัพท์หรือการสื่อสาร เป็นต้น ADSL Modem (Asymmetric Digital Subscriber Line Modem) เป็นโมเด็ม
ISDN Modem (Integrated Service Digital Network Modem) เป็นการสื่อสารส่งข้อมูลแบบสัญญาณดิจิทัลผ่านสายโทรศัพท์ธรรดา ISDN แบ่งเป็นสองช่องทางเพื่อให้สามารถใช้โทรศัพท์สนทนา เล่นอินเทอร์เน็ต หรือโอน ถ่ายข้อมูลในเวลาเดียวกันได้ด้วยอัตราความเร็ว 128 Kps เร็วกว่าโมเด็ม 28.8 Kps 4 เท่า และค่าใช้จ่ายในการติดตั้งสูง การใช้บริการจำเป็นต้องจัดเตรียมทั้งฮาร์ดแวร์ที่เป็นกล่องสำหรับเชื่อมต่อ ISDN หรืออะแดปเตอร์การ์ด เพื่อจะต่อเข้ากับไมโครคอมพิวเตอร์ นอกจากนั้น จะอยู่ภายในพื้นที่ให้บริการ ISDN ของหน่วยงานที่รับผิ
ดที่ส่งผ่านข้อมูลด้วยความเร็วที่อัตราพันบิตต่อวินาที สายเช่าแบบดิจิทัล DSL จะใช้สายโทรศัพท์ธรรมดาในการส่งผ่านข้อมูลในอัตราเร็วที่ล้านบิตต่อวินาที ที่ประมาณ 1.5-8 Mbps ในการใช้ ADSL จำเป็นต้องมีอะแดปเตอร์, โมเด็มชนิดพิเศษ, และหมายเลขโทรศัพท์โมเด็มแบบ ADSL และจะแบ่งสายโทรศัพท์ออกเป็น 3 ช่องทางสำหรับเสียง, ข้อมูลส่งออก และข้อมูลรับเข้า การเลือกซื้อโมเด็ม
ก็มีแต่จะ พัฒนาขึ้นเรื่อยๆ ไม่หยุดยั้ง อินเทอร์เน็ตนับว่าเป็นระบบเครือข่ายที่ใหญ่ที่สุดในโลก ที่สามารถย่อโลกทั้งโลกให้มาอยู่ในที่เดียวกัน พร้อมกันนั้นการพัฒนาในด้านเทคโนโลยี อินเทอร์เน็ตก็มี การเจริญเติบโตขึ้นมาอย่างรวดเร็ว มีการขยายวงกว้างสังคม ของอินเทอร์เน็ตมากขึ้นเรื่อยๆ และก็คงจะไม่มีวันมีที่สิ้นสุด ลองคิดเล่นๆ กันดูว่า ถ้าวันหนึ่งอินเทอร์เน็ตสามารถที่จะรวบรวมเอ
นับถอยหลังกลับไปตั้งแต่ที่โมเด็มรุ่น Bell Dataphone 103 โมเด็มตัวแรกของโลกได้ถือกำเนิดขึ้นมา ในยุคนั้นก็สามารถสร้างความ ตื่นเต้นได้มาก ถึงแม้ว่าความเร็วในการส่งผ่านข้อมูล ในยุคนั้น จะไม่รวดเร็ว เหมือนกับในปัจจุบันที่มีความสามารถส่งผ่านข้อมูลได้ทั้ง ภาพ และเสียงด้วยความเร็วสูง การพัฒนาโมเด็มอาจจะไม่รวดเร็วเหมือนอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ตัวอื่นๆ แต่เทคโนโลยีโมเด็
มาความรู้ และข้อมูลทั้งหมดที่มนุษย์จะสามารถคิดค้นออกมาได้ รวมทั้งยังเป็นช่องทาง การสื่อสารหลักขนาดใหญ่ ที่ผู้คนในยุคนั้นใช้เชื่อมโยงเข้ากัน ไม่ว่าจะเป็นด้านธุรกิจ การค้าขาย หรือแม้กระทั่งความสัมพันธ์ของคนต่างชนชาติ ก็จะทำให้วงกว้างของระบบเครือข่าย อินเทอร์เน็ตก็มีแต่จะเจริญเติบโตและคงจะไม่มีที่สิ้นสุด แต่อย่างไรก็ตามการเจริญเติบโตของ อินเทอร์เน็ตก็คงจะเกิดขึ้นไม่ได้เลยถ้าขาดอุปกรณ์เชื่อมต่อเพื่อเข้า ถึง (Access) อย่างโมเด็ม (Modem)
มารถส่งผ่านข้อมูลต่างๆ ไปยังสายโทรศัพท์ได้ สองส่วนที่เปลี่ยนสัญญาณอนาล็อก ที่ถูกส่งกลับมาจากสายโทรศัพท์ให้เปลี่ยนเป็นสัญญาณ ดิจิตอล เพื่อนำไปใช้งานต่อไป และสามส่วนที่ดูแล และความคุมการทำงาน Digital Interface Internal Modem External Modem ประเภทของโมเด็ม สำหรับการแบ่งประเภทของโมเด็มนั้นจะสามารถแยกออกมาได้ 2 ลักษณะใหญ่ๆ นั้นคือความเร็วในการส่งผ่าน ข้อมูล และรูปแบบการติดตั้งใช้งาน สำหรับประเภทของความเร็วนั้น จะสามารถแบ่งออกได้ 4 ประเภทได้แก่ โมเด็มความเร็วต่ำ ที่นับว่าเป็นโมเด็มรุ่นแรกๆ ที่ออกมาโดยจะมีความเร็ว ตั้งแต่ 300bps จนถึง 4,800bps ประเภทที่สอง โมเด็มความเร็วปาน กลาง โดยโมเด็มระดับนี้จะสามารถส่งผ่านข้อมูลด้วยคว
Modulation หรือเรียกอีกอย่างว่า Modem เป็นอุปกรณ์ที่ทีหน้าที่ในการแปลงสัญญาณอนาล็อกให้เปลี่ยนเป็นสัญญาณดิจิตอล เพื่อให้สามารถ รองรับการส่งสัญญาณข้อมูลที่เป็นทั้งภาพ และเสียงผ่านสายโทรศัพท ์พื้นฐานทั่วไป ซึ่งโดยปกติแล้วสายโทรศัพท์จะถูกออกแบบให้ สามารถส่งสัญญาณแบบ อนาล็อก หรือสัญญาณของเสียงเท่านั้น ดังนั้นโมเด็มก็เลยจะประกอบไปด้วยหน้าที่สำคัญ 3 ส่วนได้แก่ หนึ่งส่วนที่เปลี่ยนสัญญาณดิจิตอล ให้เป็นสัญญาณ อนาล็อกเพื่อให้ส
าามเร็ว 9,600bps ถึง 14,400bps พร้อมทั้งยังเพิ่มความสามารถในการใช้งานต่างๆ มากขึ้นด้วย และเป็นโมเด็มที่เริ่มมีการใช้เทคนิคการผสมสัญญาณ พร้อมทั้งการรับส่ง ข้อมูล ในแบบ Full Duplex และ Half Duplex และสามโมเด็มความเร็วสูง สำหรับโมเด็มประเภทนี้จะมีอัตราการับส่งข้อมูลตั้งแต่ 19,200bps ถึง 28,800bps มีการใช้เทคนิคการผสมสัญญาณที่สลับซับซ้อนมากกว่า โมเด็ม ความเร็วปานกลาง และโมเด็มแบบที่สี่ซึ่งเป็นแบบที่กำลังนิยมใช้กันอยู่ในปัจจุบันนั้นคือ โมเด็ม ความเร็วสูงพิเศษ มีความเร็วในการส่งข้อมูลสูงสุดถึง 56,000bps หรือ 56Kbps ซึ่งเป็นโมเด็มที่มีการส่งสัญญาณ ในแบบดิจิตอล ความเร็วสูง และโมเด็ม ประเภทนี้จะมีผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต หรือ ISP เข้ามาเกี่ยวข้อง
และผู้ใช้ยังสามารถสังเกตการทำงานของโมเด็มจากไฟ แสดงสถานะ บริเวณตัวเครื่องได้ง่ายกว่าด้วย โมเด็มแบบภายนอกสามารถแยกอินเทอร์เฟซ หรือพอร์ตที่ใช้ในการเชื่อมต่อเข้ากับเครื่องคอมพิวเตอร์ได้สองแบบ ได้แก่ อินเทอร์เฟซแบบ Serial โดยโมเด็มแบบนี้จะเชื่อมต่อระหว่างโมเด็มและเครื่องคอมพิวเตอร์โดยใช้สาย RS-232 และจะมีอแด็ปเตอร์ที่คอยจ่ายไฟให้กับตัว โมเด็มด้วย ส่วนอินเทอร์เฟซแบบ USB ก็อย่างที่รู้ๆ อยู่ว่า อินเทอร์เฟซแบบ USB นั้นสามารถที่จะใช้ไฟจากเครื่องคอมพิวเตอร์โดยตรง จึงไม่จำเป็นที่จะต้อง มีอแด็ปเตอร์ แบบที่สามโมเด็มแบบการ์ด PCMCIA สำหรับโมเด็มประเภทนี้จะมีลักษณะเป็นการ์ดขนาดเล็ก ที่เมื่อเวลาจะ ใช้งาน จะต้องเสียบเข้ากับสล็อต PCMCIA ที่ปกติจะมีบนเครื่องคอมพิวเตอร์โน้ตบุก และโมเด็มประเภทนี้จะมีราคาที่สูงมากกว่าโมเด็ม Internal และ External มาตรฐานโมเด็ม สำหรับมาตรฐานของโมเด็มนั้น จะถูกกำหนดมาโดย International Telecommunication Union หรือที่รู้จักกันดี ITU ซึ่งหน่วยนี้จะเป็น หน่วยงานที่องค์การสหประชาชาติตั้งขึ้น เพื่อเพิ่มความสามารถใหม่ให้กับโมเด็ม สำหรับมาตรฐานใหม่และในปัจจุบันก็เป็นที่นิยมกันอย่างมากก็คือมาตรฐาน V.90 ที่มีความรวดเร็วในการเชื่อมต่อที่ 56Kbps แต่หลังจากนั้นก็ได้มีการกำหนดมาตรฐานใหม่ล่าสุดเป็น V.92เพื่อเพิ่มความสามารถของโมเด็มให้ดีมากยิ่ง ขึ้น โดยความสามารถใหม่นั้นจะมีอยู่ 3 อย่างด้วยกันนั้นคือ Quick Connect, Modem on Hold และ PCM Upstream Quick Connect มีรูปแบบเพื่อให้สามารถทำการเชื่อมต่อกับผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต ISP ได้รวดเร็วขึ้นกว่
สำหรับประเภทของรูปแบบการติดตั้งใช้งานนั้น จะมีอยู่ 3 ประเภท ประเภทแรกจะเป็นแบบInternal หรือแบบติดตั้งภายใน โมเด็มประเภทนี้ จะมีลักษณะเป็นการ์ด หรือแผงวงจร ที่จะติดตั้งภายในตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ บริเวณสล็อต PCI ในปัจจุบัน ซึ่งข้อดีของโมเด็มลักษณะนี้ ก็ตรงที่จะประหยัด เนื้อที่ ภายนอก และมีราคาถูก แต่มักจะมีปัญหาตรงที่ติดตั้งใช้งานยุ่งยาก และตรวจดูสถานะการทำงานของโมเด็มได้ยาก แบบที่สองโมเด็มติดตั้ง ใช้งาน ภายนอก External ซึ่งจะมีรูปร่างเป็นสี่เหลี่ยม ประกอบไปด้วยอแด็ปเตอร์ที่ใช้เชื่อมต่อกับไฟฟ้าภายในบ้านเอง โดยไม่ต้องใช้ไฟร่วมกับเครื่องคอมพิวเตอร ์เหมือนโมเด็มแบบติดตั้งภายใน ทำให้การทำงานของ เครื่อง คอมพิวเตอร ์เสถียรมากกว่
าาเดิม 50 เปอร์เซ็นต์ PCM Upstream ช่วยให้การอัพโหลดข้อมูลต่างๆ ทำได้รวดเร็วมากขึ้น ซึ่งจะสามารถทำความเร็วได้สูงสุดถึง 48,000bps โดยที่มาตรฐาน V.90 เดิมทำได้เพียงแค่ 33,600bps Modem on Hold ท่านเคยสังเกตไหมครับว่าเวลาใช้งานอินเทอร์เน็ต แล้วถ้ามีสายโทรศัพท์เรียกเข้าในระหว่างใช้อินเทอร์เน็ต สายมักจะชอบ หลุด แต่ด้วยเทคโนโลยีนี้จะทำให้ท่านสามารถรับโทรศัพท ์เมื่อมีสายเรียก เข้า โดยที่ไม่ต้องออกจากการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต แต่ท่านจะต้องขอใช้บริการรับ สายเรียกซ้อนจากผู้ให้บริการโทรศัพท์ที่ท่านใช้ และทาง ISP จะต้องเปิดให้บริการมาตรฐาน V.92 ด้วย นอกจากโมเด็มในแบบอนาล็อกที่มีการส่งผ่านข้อมูลด้วยความเร็ว 56K ที่ปัจจุบันเป็นที่นิยมกันมากสำหรับคออินเทอร์เน็ตราคาถูก (ผมด้วย อิ..อิ) ปัจจุบันก็สามารถพัฒนาให้สามารถส่งผ่านข้อมูลในแบบดิจิตอลโดยตรง เพื่อให้การส่งผ่านข้อมูลไม่ว่าจะเป็นการดาวน์โหลดข้อมูล (downstream) หรืออัพ โหลดข้อมูล (upstream) ทำได้รวดเร็วมากขึ้นกว่าเดิม พร้อมกับรองรับการประชุมทางไกลทั้งภาพ และเสียง( VDO Conference) ที่กำลังนิยมใช้งานกัน ตามบริษัทด้วย สำหรับโมเด็มที่ออกมารองรับการใช้งานดังกล่าวนั้นก็จะมีออกมาใช้อยู่ 3 แบบ ได้แก่ Cable Modem, ISDN Modem และที่กำลังร้อนแรง ในขณะนี้ ADSL Modem Cable Modem Cable Modem จะใช้การส่งสัญญาณข้อมูลผ่านระบบเครือข่ายต่างๆ โดยใช้สายนำสัญญาณ เช่น สายเคเบิลใยแก้วนำแสง ( Fiber Optic ) และสายโคแอคเชียล มาทำงานร่วมกันโดยจะเรียกระบบนี้ว่า HFC หรือ Hybrid Fiber Coaxial Network ความสามารถของเคเบิลโมเด็มก็จะมีตั้งแต่ สามารถดาวน์โหลด ข้อมูลได้สูงสุดถึง 10Mbps และอัพโหลดข้อมูลได้สูงสุดถึง 2Mbps และไม่มีปัญหาของสายหลุดในระหว่างการใช้งานเพราะ Cable Modem จะเป็นการ เชื่อมต่ออยู่ตลอดเวลา แต่ค่อนข้างจะมีพื้นที่ให้บริการที่จำกัดไม่ค่อยจะทั่วถึงถ้าเกิดมีจำนวนผู้ใช้มากขึ้นก็จะทำให้ความเร็วลดลง และไม่มีค่อยความปลอดภัย ของข้อมูลในระหว่างการใช้งานด้วย ISDN Modem ISDN Modem
ีนี้ยังมีความสามารถในการแบ่ง รหัสสัญญาณข้อ มูลเสียงโดยการแยกความถี่ของเสียงที่มีความถี่ไม่เกิน 4KHz ออกจากความถี่ของสัญญาณข้อมูลที่มีความถี่ตั้งแต่ 2MHz โดยอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่ ในการแบ่ง ความถี่นี้จำเป็นที่จะต้องนำมาติดตั้งร่วมกับ ADSL โมเด็ม อุปกรณ์ที่ว่านี้เรียกว่า Pots Splitter ซึ่งจะติดตั้งอยู่ทั้งชุมสายโทรศ
หรือ Integrated Services Digital Network ได้รับการพัฒนาเพื่อมารองรับการส่งผ่านข้อมูลประเภทภาพ และเสียงผ่านอินเทอร์เน็ต เช่น การประชุมทางไกล, video streaming, Video Conference สามารถสนับสนุนความเร็วได้ตั้งแต่ 57.6Kbps - 128Kbps ซึ่งรูปแบบที่ให้บริการ สำหรับ ISDN นั้นจะมีอยู่ 2 ประเภทด้วยกัน คือ ประเภทแรก Basic Access Interface หรือ BRI การเชื่อมต่อแบบนี้จะเหมาะกับผู้ใช้ในทุกๆ ระดับ ตั้งแต่ผู้ใช้ตามบ้านจนไปถึงองค์กรธุรกิจ ขนาดใหญ่ โดยสายสัญญาณที่นำมาใช้ก็จะเป็นสาย โทรศัพท์ธรรมดา ซึ่งจะเป็นการแลกเปลี่ยนกันระหว่างชุมสายของผู้ใช้บริการ และผู้ใช้ ISDN และ ISDN จะใช้ช่องสัญญาณทั้งหมด 2 ช่องโดยแต่ละช่องจะสามารถส่งผ่านข้อมูลได้สูงสุดที่ 64Kbps ฉะนั้นจึงรวมเป็น 128Kbps ประเภทที่สอง Primary Rate Interface หรือ PRI ส่วนแบบนี้จะเหมาะกับองค์กรธุรกิจขนาดใหญ่ที่ต้องการช่องสัญญาณขนาดใหญ่เพื่อรอง รับกับข้อมูลจำนวนมาก ๆ ส่วนสายสัญญาณที่ใช้นั้นจะมีอยู่ 2 แบบ โดยแบบแรกนั้นจะใช้สาย Fiber Optic ซึ่งผู้ให้บริการมักจะติดตั้งสายประเภทนี้ไว้ตาม สถานที่สำคัญทางธุรกิจ เพราะความสามารถจากสาย Fiber Optic ที่สามารถรักษาความปลอดภัยในระหว่างการส่งผ่านข้อมูลได้มากกว่า สำหรับสายแบบ ที่สองนั้น ก็จะใช้กับพื้นที่บริการที่ไม่สามารถวางสาย Fiber Optic ได้ โดยจะใช้เป็นสายโทรศัพท์ หรือสายทองแดงแทน แต่จะติดตั้งอุปกรณ์ HDSL ISDN รูปแบบนี้จะมีจำนวนของช่องสัญญาณถึง 30 ช่อง โดยในแต่ละช่องก็จะมีขนาดความกว้างของช่องสัญญาณเหมือนกับประเภท BRI คือ 64Kbps ฉะนั้นเมื่อ รวมทั้งหมดก็จะได้ขนาดของช่องสัญญาณที่ส่งผ่านข้อมูลด้วยความเร็วสูงสุดถึง 2.048Mbps หรือประมาณ 2Mbps ADSL Modem Wireless ADSL Modem ADSL Modem หรือ Asymmetric Digital Subscriber Line การเชื่อมต่อในแบบ ADSL นับเป็นนวัตกรรมการส่งข้อมูลสายโทรศัพท์พื้นฐานเป็นที่นิยมมาก ที่สุด โดยจะมีอัตราในการส่งข้อมูล ดาวน์โหลด สูงสุดที่ 8Mbps และอัพโหลดข้อมูลที่ 1Mbps เทคโนโล
ยีพท์และผู้ใช้ ดังนั้นผู้ใช้จึง สามารถใช้โทรศัพท ์ร่วมกันได ้ใน ระหว่างที่ใช้งานอินเทอร์เน็ต Pots Splitter จะมีลักษณะคล้ายกับเต้าเสียบโทรศัพท์ตามบ้านทั่วๆไปที่จะมีพอร์ต คอนเน็ก เตอร์หัว RJ-11อยู่ 2 ช่อง โดยจะมีช่องหนึ่งไว้ให้สำหรับเสียบเข้ากับโมเด็ม และช่องที่เหลืออีกช่องเอา ไว้ให้สำหรับเสียบเข้ากับเครื่องโทรศัพท์ อะไรที่ทำให้คออินเทอร์เน็ตทั้งหลายในปัจจุบันจึงนิยมติดตั้งใช้งานอินเทอร์เน็ตในแบบ ADSL อย่างแรกก็คือความสะดวกสบายในการเชื่อมต่อ ผู้ใช้สามารถที่ Access ใช้งานทันท ีโดยที่ไม่ต้องหมุนโทรศัพท์เหมือนโมเด็ม ISDN เพราะ ADSLจะทำการเชื่อมต่ออยู่ตลอดเวลา (Always-On-Access) สายสัญญาณ ADSL ยังเป็นอิสระในการใช้งานโดยที่ไม่ได้ไปแชร์สายสัญญาณเหมือน Cable Modem นั้นผู้ใช้จึงมั่นใจในเรื่องความปลอดภัย ได้ อินเทอร์เฟซต่างๆด้านหลัง ADSL Modem Port Splitter อุปกรณ์ที่ใช้สำหรับแยกสัญญาณความถี่ ประเภท และแนวทางในการเลือกซื้อ ADSL โมเด็ม สำหรับ ADSL โมเด็มจะมีให้เลือกใช้อยู่ 2 ประเภทเหมือนกับโมเด็มในแบบอนาล็อก คือ แบบที่ติดตั้งใช้งานภายใน และแบบที่ติดตั้งใช้งานภายนอก แบบที่ติดตั้งใช้งานภายใน โมเด็มแบบนี้จะติดตั้งกับสล็อต PCI ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งลักษณะที่เหมือนกับโมเด็มอนาล็อกทั่วๆไป แบบนี้จะ เหมาะกับผู้ใช้ที่ต้องการประหยัดเนื้อที่การทำงานภายนอก และประหยัดค่าใช้จ่าย
บบเครือข่ายไร้เริ่มเข้ามามีบทบาทมากขึ้น และก็เริ่มจะมีความ นิยมกันมากขึ้นเรื่อยๆ ด้วย ดังนั้น ADSL เราท์เตอร์ในปัจจุบันจึงถูกพัฒนาให้สามารถทำงานแบบไร้สายได้ด้วย พร้อมที่ยังรองรับการเชื่อมต่อแบบอีเทอร์เน็ต ใช้สายแบบเดิมด้วย โดยจะมีมาตรฐานไร้สายที่รองรับการใช้งาน IEEE 802.11b ที่เป็นมาตรฐานเดิม และเป็นที่นิยมใช้งานกันมากในบ้านเรา และ IEEE 802.11g ที่เป็นมาตรฐานไร้สายใหม่ที่กำลังเริ่มเป็นที่นิยมมากขึ้นเรื่อย ซึ่งการทำงานของทั้งสองแบบจะทำงานความถี่ 2.4GHz สำหรับราคาแบบไร้สายนี้จะ สูงมากดังนั้นถ้าไม่จำเป็นที่จะใช้งานจริงๆ ก็น่าจะหันไปเล่นแบบแบบใช้สายก่อนก็จะประหยัดเงินในกระเป๋าได้มากครับ
แบบที่ติดตั้งใช้งานภายนอก ADSL โมเด็มแบบนี้จะมีอินเทอร์เฟซอยู่ 2 แบบ คือ แบบแรกนั้นจะเป็นอินเทอร์เฟซ USB ส่วนแบบที่สองจะเป็น อินเทอร์เฟซแบบ RJ-45 หรือพอร์ตแลน ซึ่งโมเด็มทั้งสองแบบก็จะมีข้อดีและข้อเสียที่แตกต่างกันไป อย่างเช่นแบบ USB จะติดตั้งใช้งานได้ง่าย มีราคาถูก แต่ถ้าต้องการจะแชร์เพื่อให้เครื่องอื่นๆ ได้ใช้อินเทอร์เน็ตด้วยจะทำได้อยากเพราะโมเด็มแบบ USB ไม่ได้ทำการติดตั้งพอร์ต RJ-45 มาให้ไว้เชื่อมต่อระบบ แลน แต่ถ้านำไปใช้เชื่อมต่อเพียงแค่เครื่องเดียวก็น่าจะเป็นการประหยัดค่าใช้จ่ายมากกว่าที่จะนำ ADSL โมเด็มที่สนับสนุนอินเทอร์เฟซ RJ-45 มาติดตั้งใช้งาน ปัจจุบันความนิยมใช้ ADSL โมเด็มเริ่มลดน้อยลงโดยเฉพาะผู้ใช้ตามองค์กร หรือบริษัทที่ต้องการความปลอดภัยข้อมูลมักจะนิยมเอา ADSL เราท์เตอร์มาใช้ งานแทนกันมากขึ้น ก่อนที่ ADSL เราท์เตอร์ ยังไม่ได้มีการพัฒนานำออกมาใช้นั้น ผู้ใช้พวกนี้ส่วนมากจะเชื่อมต่อเราท์เตอร์กับโมเด็มเข้าด้วยกันเพื่อกลั่นกรอง ข้อมูลต่างๆ ก่อนที่จะมีการส่งผ่านเข้ามาในระบบภายใน เพื่อป้องกันภัยอันตรายต่างๆ จากภายนอกส่งผ่านเข้ามาทางอินเทอร์เน็ต ADSL เราท์เตอร์นั้นค่อนข้าง จะมีราคาที่สูงกว่า ADSL โมเด็มอยู่มาก เพราะจากอินเทอร์เฟซ RJ-45 ที่สามารถติดตั้งมาให้ได้มากกว่าสูงสุดถึง 4 พอร์ต แถมบ้างตัวยังสนับสนุน Auto-Uplink ที่จะเชื่อมต่อไปสู่อุปกรณ์ต่างๆ เช่น เราท์เตอร์ ฮับ สวิทซ์ จากพอร์ตใดก็ได้

วันพฤหัสบดีที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

CPU



CPU หรือ Central Processing Unit คือหัวใจหลักในการประมวลผลของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์จึงขาดซีพียูไม่ได้ ซีพียู เป็นตัวควบคุมการทำงานของอุปกรณ์ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นอุปกรณ์ที่อยู่ในคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์ต่อพ่วงที่ต่อร่วมกับคอมพิวเตอร์
กลไกการทำงานของซีพียู
ใช้หลักการเก็บคำสั่งไว้ที่ หน่วยความจำ ซีพียูอ่านคำสั่งจากหน่วยความจำมาแปลความหมายและกระทำตามเรียงกันไปทีละคำสั่ง หน้าที่หลักของซีพียู คือควบคุมการทำงานของคอมพิวเตอร์ทั้งระบบ ตลอดจนทำการประมวลผล ประสิทธิภาพและความเร็ว
การทำงานของคอมพิวเตอร์
ในการทำงานของซีพียู หรือ ความสามารถในการประมวลผล (Processing Power) นั้นขึ้นอยู่กับชนิดหรือรุ่นของซีพียู

คอมพิวเตอร์รุ่นแรกจนพัฒนาต่อมาเรื่อยๆ จากยุค 386, 486 จนมาใช้ชื่อ Pentium, Pentium Pro, Celeron, Pentium 2, Pentium 3 จากนั้นก็มาถึงยุคของ Pentium 4 แม้ในช่วงที่ AMD เปิดตัว Athlon 64 มาในราคาที่ถูกกว่าและดึงส่วนแบ่งตลาดไปได้มาก แต่ครั้งนี้ Intel กลับมายึดตลาดซีพียูคืนด้วย Core 2 Duo ซึ่งเป็นซีพียูที่มีประสิทธิภาพสูงแต่ใช้พลังงานน้อย จึงมีความร้อนน้อยกว่า Pentium D เป็นอย่างมาก ซึ่งรายละเอียดตัวอย่าง ซีพียู ของ บริษัท intel 1. ซีพียูตระกูล Pentium 4 2. ซีพียูตระกูล Pentium D 3. ซีพียูตระกูล Pentium Extreme 4. ซีพียูตระกูล Pentium
บริษัท Intel เป็นผู้ผลิตซีพียูสำหรับเครื่องพีซีรายใหญ่ที่สุดของโลก บริษัท Intel ได้ผลิตซีพียู มาตั้งแต่คอม
พิ Dual Core 5. ซีพียูตระกูล Core 2 Duo 6. ซีพียูตระกูล Core 2 Extreme Processor 7. ซีพียูตระกูล Core i7 8. ซีพียูตระกูล Core i7 Extreme 1. ซีพียูตระกูล Pentium 4 670, 661, 660, 651, 650, 641, 640, 631, 630, 551, 541, 531, 521 [มี Hyper-Threading]524, 519K, 516, 511, 506 [ไม่มี Hyper-Threading] CPU Single-core มีความเร็วตั้งแต่ 2.66 - 3.80GHz มี Cache L2 ตั้งแต่ 1 - 2MB มี FSB ตั้งแต่ 533 – 800MHz มีระบบประหยัดพลังงาน Intel SpeedStep (ยกเว้น Pentium 551, 541, 531, 521, 524, 519K, 516, 506) รองรับ EM64T มีเทคโนโลยีป้องกันการโจมตีของไวรัส ใช้การผลิตแบบ 90 และ 65นาโนเมตร บน LGA775 2. ซีพียูตระกูล Pentium D

5 4. ซีพียูตระกูล Core 2 Duo E6700, E6600, E6400, E6300, E7600, E7500, E7400, E7300, E7200, E8600, E8500, E8400 CPU Dual-core มีความเร็วตั้งแต่ 1.86 – 3.33GHz มี Cache L2 ตั้งแต่ 2 - 4MB FSB ตั้งแต่ 1333 - 1066MHz ไม่มี Hyper-Threading มีระบบประหยัดพลังงาน Intel SpeedStep รองรับ EM64T มีเทคโนโลยีป้องกันการโจมตีของไวรัส
960, 950, 945, 940, 930, 925, 920, 915, 840, 830, 820, 805 CPU Dual-core มีความเร็วตั้งแต่ 2.8 - 3.60GHz มี Cache L2 ตั้งแต่ 2 - 4MB มี FSB 800MHz ไม่มี Hyper-Threading มีระบบประหยัดพลังงาน Intel SpeedStep (ยกเว้น PentiumD820,805) รองรับ EM64T มีเทคโนโลยีป้องกันการโจมตีของไวรัส ใช้การผลิตแบบ 90 และ 65นาโนเมตร บน LGA775 3. ซีพียูตระกูล Pentium Extreme 965, 955, 840 CPU Dual-core มีความเร็วตั้งแต่ 3.20 - 3.73GHz มี Cache L2 ตั้งแต่ 2 - 4MB มี FSB ตั้งแต่ 800 - 1066MHz มีเทคโนโลยี Hyper-Threading ไม่มีระบบประหยัดพลังงาน รองรับ EM64T มีเทคโนโลยีป้องกันการโจมตีของไวรัส ใช้การผลิตแบบ 90 และ 65นาโนเมตร บน LGA7
7 ใช้การผลิตแบบ 45นาโนเมตร บน LGA775 5. ซีพียูตระกูล Core 2 Quad
รรมของ Intel® Core™ microarchitecture มอบ หน่วยประมวลผลสี่แกนหลักในโปรเซสเซอร์ตัวเดียว นำมาซึ่งประสิทธิภาพและการตอบสนองที่รวดเร็วอย่างที่ไม่เคยมีมาก่อนสำหรับ การใช้งานแบบมัลติเธรดและมัลติทาสกิ้งในสภาพแวดล้อมการทำงานที่บ้านและใน สำนักงานเวอร์ชั่นล่าสุดของโปรเซสเซอร์นี้สร้างขึ้นจากเทคโนโลยีการผลิต 45nm ของ Intel ที่จะนำประโยชน์ที่แตกต่างมากให้กับคุณ เทคโนโลยีนี้ใช้ทรานซิสเตอร์ hafnium-infused Hi-k ซึ่ง ช่วยให้โปรเซสเซอร์มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นโดยการเพิ่มความหนาแน่นของ ทรานซิสเตอร์เป็นสองเท่า เป็นการช่วยเพิ่มสมรรถนะและความเร็วเมื่อเทียบกับรุ่นก่อนหน้า และช่วยเพิ่มขนาดแคชเพิ่มขึ้นสูงสุดถึง 50 เปอร์เซ็นต์ เทคโนโลยีการผลิต 45nm ของ Intel ช่วยให้โปรเซสเซอร์ Intel Core 2 Duo มอบประสิทธิภาพที่เหนือกว่าโดยไม่ได้ใช้พลังงานมากขึ้น โปรเซสเซอร์ Intel® quad-core นี้เป็นตัวแทนของความเป็นผู้นำอย่างต่อเนื่องของ Intel และเป็นการช่วยผลักดันการใช้งานหน่วยประมวลผลแบบมัลติคอร์ 6. ซีพียูตระกูล Core 2 Extreme CPU Dual-core ความเร็ว 2.93GHz มี
ปรเซสเซอร์ Intel® Core™2 Quad ซึ่งมีพื้นฐานจากการปฏิวัติทางนวัต

ก Cache L2 ขนาดใหญ่ถึง 4MB FSB 1066MHz ไม่มี Hyper-Threading มีระบบประหยัดพลังงาน Intel SpeedStep รองรับ EM64T มีเทคโนโลยีป้องกันการโจมตีของไวรัส ใช้การผลิตแบบ 45 นาโนเมตร บน LGA775
7. ซีพียูตระกูล Core i7
Intel Core i7 รุ่นธรรมดา มี 2 รุ่น คือ
1. Intel Core i7 920 = 2.67 GHz ,
re, = Multiplier 20x = BusSpeed 133.3
= L2 Cache 256x4KB,L3Cache 8MB Sh
a MHz

ier 22x
= BusSpeed 133.3
= QPI 2.4GHz = TDP 130 w = Socket B LGA 1366 = MMX,SSE,SSE2,SSE3,SSSE3,SSE4.1,SSE4.2,EMT64T 2. Intel Core i7 940 = 2.93 GHz , = L2 Cache 256x4KB,L3Cache 8MB Share, = Multip
l MHz = QPI 2.4GHz = TDP 130 w = Socket B LGA 1366 = MMX,SSE,SSE2,SSE3,SSSE3,SSE4.1,SSE4.2,EMT64T 8. ซีพียูตระกูล Core i7 Extreme Intel Core i7 Extreme มี 1 รุ่น ดังนี้ Intel Core i7 920
= 3.20 GHz , = L2 Cache 256x4KB,L3Cache 8MB Share, = Multiplier 24x = BusSpeed 133.3 MHz = QPI 3.2GHz = TDP 130 w = Socket B LGA 1366
= MMX,SSE,SSE2,SSE3,SSSE3,SSE4.1,SSE4.2,EMT64T

คำศัพท์คอมพิวเตอร์

บทที่ 1 คำศัพท์ คำอ่าน คำแปล 1 input อินพูท รับข้อมูล 2 Process โพเซท ประมวลผล
3 Output เอ้าพูท ผลลัพธ์ 4 Micro ไมโคร ไมโคร 5 Engineering Workstation เอนจิเนียลิ่ง เวอกสเตชั่น สถานีงานวิศวกรรม 6 mini computer มินิคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก 7 mainframe computer เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ 8 Supercomputer ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ประสิทธิภาพสูง 9 Analog Computer อนาล๊อกคอมพิวเตอร์ อนาล๊อกคอมพิวเตอร์ 10 Digital computer ดิจิตอลคอมพิวเตอร์ ดิจิคอมพิวเตอร์ บทที่ 2 คำศัพท์ คำอ่าน คำแปล 1 microcomputer ไมโครคอมพิวเตอร์ microcomputer 2 speed สปีด ความเร็ว 3 storage สตอกเกน การจัดเก็บ
4 power พาเวอร์ พลัง
5 slot สลอท ช่อง
6 chip ชิป ชิป
7 main board เมนบอร์ด เมนบอร์ด
8 socket ช๊อค เก็ท เต๊ารับ 9 ram แรม แรม 10 server เซิร์ฟเวอร์ เซิร์ฟเวอร์

บทที่ 3 คำศัพท์ คำอ่าน คำแปล
1.Polling โฟล-ลิ้ง การลงคะแนนเลือกตั้ง 2.Interrupt อิน-เทอ-หลุด ขัดขวาง 3.Mailbox เมล-บล็อก ตู้จดหมาย 4.Protection Test Unitโฟ-เทค-ชั่น-เทส-บยู-นิต ผลการทดสอบหน่วยความ 5.Interface อิน-เตอร์-เฟซ ติดต่อ 6.Processor โฟ-เสต หน่วยประมวลผล 7.Control คอน-โทล การควบคุม 8.Test เทส ทดสอบ 9.Unit ยู-นิต หน่วย 10.Logic โล-จิกตรรกะ
บทที่ 4 คำศัพท์ คำอ่าน คำแปล 1.Store สะ-โตล เก็บ 2.Program โปร-แกรม โครงการ 3.Concept คอน-เซป แนวคิด 4.Random Access Memory เรน-ดอม-แอค-เสต-เมม-เม-รี แรม 5.Read Only Memory รี้ด-ออล-ลี-เมม-เม-รี รอม 6.Memory Stick เมม-เม-รี-สะ-ติก หน่วยความจำขนาดเล็ก 7.Memory เมม-เม-รี หน่วยความจำ 8.Static สะ-เตก-ดิส คงที่ 9.Fast ฟาส รวดเร็ว 10.Output เอาท์-พุต ส่งออก
บทที่ 5 คำศัพท์ คำอ่าน คำแปล 1.Hard Disk ฮาร์ด-ดิสก์ ฮาร์ดดิสก์ 2.Aluminum อะ-ลู-มิ-นัม อลูมิเนียม 3.Alloy เอ-โล โลหะผสม 4.Patter เพล-เตล เสียงกุกกัก 5.Sector เซก-เตอร์ ภาค 6.Cylinder ซาย-แรน-เดอร์ กระบอกสูบ 7.Clusters คัล-เตอร์ เครือข่ายวิสาหกิจ 8.Format ฟอ-แมต จัดรูปแบบ 9.Random แรน-ดอม สุ่ม 10.Seek Time ชีก-ทาม ขอเวลา

Harddisk



Harddisk

ฮาร์ดดิสก์คืออุปกรณ์ที่ใช้เก็บข้อมูลหรือเป็นโปรแกรมที่สำคัญมากที่สุดในระบบคอมพิวเตอร์ เนื่องจากฮาร์ดดิสก์ติดตั้งอยู่ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์จึงทำให้ไม่สามารถมองเห็นตัวฮาร์ดดิสก์จากภายนอกได้ ถ้าต้องการดูจำเป็นต้องถอดฝาครอบตัวเครื่องออกจึงจะมองเห็น และเนื่องจากฮาร์ดดิสก์นั้นเป็นที่เก็บข้อมูลและโปรแกรมต่างๆดังนั้นความจุของตัวฮาร์ดดิสก์จึงเป็นส่วนสำคัญมากในการเลือกนำมาใช้งาน และโปรแกรมในสมัยปัจจุบันนี้ไม่ว่าจะเป็น windows หรือโปรแกรมอื่นๆมักมีขนาดใหญ่จึงต้องเลือกตัวฮาร์ดดิสก์ที่มีหน่วยเป็น กิกะไบต์ (GB : Gigabyte)

ลักษณ์ของการเชื่อมต่อฮาร์ดดิสก์มีศัพท์เฉพาะที่เรียกอย่างเป็นทางการว่า อินเตอร์เฟส (Interfece) สามารถแบ่งลักษณะการเชื่อมต่อฮาร์ดดิสก์ได้ 2 ประเภท
1. IDE และ E-IDE การเชื่อมต่อแบบ IDE (integrated Drive Electronics) เป็นการเชื่อมต่อแบบเก่า ที่มีข้อจำกัดรองรับการทำงานของฮาร์ดดิสก์ได้เพียงแค่ 528 เมกกะไบต์ ส่วน E-IDE (Enhanced Integrated Drive Electronics) คือพัฒนาการของ IDE นั่นเอง สามารถรองรับการเชื่อมต่อในระดับ กิกะไบต์ และปัจจุบันการเชื่อมต่อของฮาร์ดดิสก์ มักนิยมใช้แบบ E-IDE 2. SCSI
การเชื่อมต่อแบบ SCSI (Small Computer System Interface) เป็นการเชื่อมต่อแบบความเร็วสูง นิยมใช้กับระบบเครือข่ายการและการเชื่อมต่อแบบ SCSI นี้จะต้องมีการ์ด SCSI ติดตั้งภายในตัวเครื่องคอมพิวเตอร์อยู่ด้วย

Mainboard




Mainboard

เมนบอร์ด ( Mainboard ) หรือที่เรียกอีกชื่อว่า มาเธอร์บอร์ด (Motherboard) คือ แผงวงจรขนาดใหญ่ที่รวบรวมเอาส่วนประกอบหลัก ๆ ที่สำคัญของคอมพิวเตอร์เข้าไว้ด้วยกัน มีลักษณะลักษณะเป็นแผ่น circuit board รูปร่างสีเหลี่ยมผืนผ้า ซึ่งเต็มไปด้วยวงจรอิเล็กทรอนิกส์ที่ซับซ้อน ดังนั้นเมนบอร์ดจึงเป็นเสมือนกับศูนย์กลางในการทำงานและเป็นศูนย์กลางในการเชื่อมต่อกับอุปกรณ์อื่น ๆ ไม่ว่าจะเป็นซีพียู แรม ฮาร์ดดิสก์ ซีดีรอม ฟล็อปปี้ดิสก์ การ์ดต่าง ๆ
ความสำคัญของเมนบอร์ดเหมือน CPU แต่ความสำคัญ อยู่ที่เมนบอร์ดเป็นตัวเชื่อมต่อการทำงานทุกอย่างของเครื่งอคอมพิวเตอร์ไม่ว่าจะเป็น RAM,CPU,หรือแม้แต่การ์ดVGA เป็นต้น ต่างก็ต้องพึ่งพา เมนบอร์ดในการส่งผ่านข้อมูล

วันพุธที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

เเนะนำตัว



สวัสดีครับผม
ชื่อ ธนา หวังซอกลาง ปวช2/1 เลขที่ 36 คอมพิวเตอร์ธุรกิจ
ชื่อเล่น มอส
เกิดวันที่ 21 มีนาคม พศ 2539
อาหารที่ชอบ กระเพาหมู(กรอบ)
สีที่ชอบ ดำ ขาว
งานอดิเรก นอน เล่นเกม ฟังเพลง เล่นคอมพิวเตอร์
ที่อยู่ 70/930 ถนนประชาชื่น ต.ท่าทราย อ.เมือง จ.นนทบุรี รหัสไปรษณีย์ 11000
E-mail makuling000@hotmail.com
Facebook makuling000@hotmail.com